กิจกรรม 17-21 มกราคม 2554

ตอบ ข้อที่ 3






ตอบ ข้อที่ 2
จากสูตร     ΔV  =   ΔS / Δ
                                          V  = S  / t     =  การกระจัด / เวลา
                        กำหนดให้    V  คือ  ความเร็ว  หน่วย เมตร/วินาที ( m/s )
                                          S  คือ  การกระจัด  หน่วย  เมตร  ( m )
                                          t  คือ   เวลา  หน่วย วินาที  ( s )
ที่มา    www.thaigoodview.com/node/27666


ตอบ ข้อที่4
1.  v = u+gt
       2.  s = (u+v)/2 t
       3.  s = ut + 1/2 gt2
       4. v2 = u2 + 2gs
http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=170358



ตอบ ข้อที่ 3


ที่มา http://www.rmutphysics.com/CHARUD/formular2/9/index1-2.html



ตอบ ข้อที่ 2 ไม่ขึ้นกับมวลของลูกตุ้ม


ที่มา http://www.rmutphysics.com/CHARUD/formular2/9/index1-2.html







ตอบ ข้อที่ 4
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (Ticker Tape Timer) เป็นเครื่องมือที่เหมาะที่ใช้วัดอัตราเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ในเวลาสั้น ๆเครื่องเคาะสัญญาณเวลาทำงาน แผ่นเหล็กสปริงจะสั่นทำให้เหล็กที่ติดปลายเคาะลงไปบนแป้นไม้ที่รองรับเป็นจังหวะด้วยความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้เคาะ คือ 50 ครั้งใน 1 วินาที ดังนั้น ช่วงเวลาระหว่างการเคาะครั้งหนึ่งกับครั้งถัดไปมีค่าเท่ากับ 1/50 วินาที ช่วงเวลานี้จะคงที่เพราะความถี่ของไฟฟ้าที่ใช้ค่าคงที่ ช่วงเวลานี้บางครั้งเรียกว่า เวลา 1ช่วงจุด
ที่มา http://darkkontinent.blogspot.com/



ตอบ ข้อที่ 3
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์  ได้แก่ ดอกไม้ไฟ น้ำพุ การเคลื่อนที่ของลูกบอลที่ถูกเตะขึ้นจากพื้น การเคลื่อนที่ของนักกระโดดไกล  
กาลิเลโอ ป็นคนแรกที่อธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้อย่างละเอียด เขาได้อธิบายว่าถ้าจะศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทด์ได้อย่างละเอียดนั้น ต้องแยกศึกษาส่วนประกอบในแนวราบ และ ในแนวดิ่งอย่างอิสระไม่เกี่ยวข้องกัน
ที่มา http://www.thaigoodview.com/node/19708





ตอบ ข้อที่ 1
แรงระหว่างมวล ถูกค้นพบโดย Newton

โดยการศึกษาผลงานการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ของ Keppler

ได้ข้อสรุปออกมาว่า

วัตถุสองก้อน จะมีแรงดึงดูดระหว่างกัน

แรงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของมวลสองก้อน

แรงเป็นสัดส่วนผกผันกับระยะห่างระหว่าง CM ของมวลทั้งสอง

ค่าคงที่แรงระหว่างมวลมักจะใช้ G (จีใหญ่) เรียกว่า universal gravitational constant

ถูกค้นพบโดยคาเวนดีช (ลองหาคำว่าคาเวนดีช บาลานซ์ดูนะครับ คล้าย ๆ ผมเคยตอบใครที่ไหนสักแห่งในเว็บวิชาการนี้แล้ว)

สูตรแรงระหว่างมวลสองก้อนจึงออกมาเป็น



F = GM1M2/r2สำหรับสนามโน้มถ่วง g (ความเร่ง)



g = GM/r2โดย M คือมวลของดาวทั้งดวง



แต่ถ้าคุณขุดอุโมงลึกลงไปใต้ผิวโลก

มวลโลกจะถูกแบ่งเป็นสองส่วนครับ

ส่วนที่อยู่ต่ำลงไปจะดูดคุณลง

ส่วนที่อยู่เหนือคุณจะดูดคุณขึ้น



ทำให้ค่าสนามโน้มถ่วงในขณะที่คุณขุดรูลงไปใต้ผิวโลก

แทนที่ g จะเป็นสัดส่วนผกผันกับ r2กลับเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ r แทน

โดยค่าสูงสุดจะอยู่ที่ผิวโลกครับ

ที่มา http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=17733


ตอบ ข้อที่ 3
ความเร็ว(Velocity) คืออัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด เป็นปริมาณเวคเตอร์ครับ
(คำว่าอัตราคือต้องเปรียบเทียบกับเวลาครับ
ฉะนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัดก็คือการกระจัดที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลานั่นเองครับ)
แบ่งได้ออกเป็น
1. ความเร็วขณะใดๆ คือความเร็วที่เกิดขึ้น ณ
เวลาหนึ่งของการเคลื่อนที่หรือถ้าพูดในอีกความหมายหนึ่งคืออัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัดในช่วงเวลาที่สั้นมากๆ(เข้าใกล้
0) ในที่นี้ ม. 4 รู้เพียงว่า ความเร็วขณะใดๆ
ก็คือค่าความชันของกราฟการกระจัดกับเวลาในความหมายทางคณิตศาสตร์นั่นเองครับ
2. ความเร็วเฉลี่ย คืออัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัดกับเวลาเมื่อการเปลี่ยนแปลงเวลานั้นอยู่ในช่วงยาว

อัตราเร็ว(speed)คืออัตราการเปลี่ยนแปลงระยะทาง เป็นปริมาณสเกลาร์  แบ่งออกเป็น

1. อัตราเร็วขณะใดๆ คือ อัตราส่วนของระยะทางกับเวลา เมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นอยู่ในช่วงสั้นๆ(เวลาเข้าใกล้0) อัตราเร็วขณะใดๆมีขนาดเท่ากับขนาดของความเร็วขณะนั้นๆ(ไม่คิดเครื่องหมายนะครับ
เพราะเป็นสเกล่าร์นั่นเอง)
ก็คือค่าความชันของกราฟระยะทางกับเวลาที่จุดนั้นนั่นเองครับ
2. อัตราเร็วเฉลี่ย คือ อัตราส่วนของระยะทางกับเวลา เมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นอยู่ในช่วงยาว

สิ่งที่ต้องควรสังเกตคือ

1.อัตราเร็วขณะใดๆก็คือขนาดความเร็วขณะนั้นๆเสมอ
2.อัตราเร็วเฉลี่ยจะมีค่าเท่ากับความเร็วเฉลี่ยก็ต่อเมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงเท่านั้นไม่มีถอยหลังกลับนะครับ





ตอบ ข้อที่ 4

สูตร   แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก
 -  จำนวนเส้นแรงแม่เหล็กหรือฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านพื้นผิว  A
A  -  พื้นที่ตั้งฉากที่ฟลักซ์แม่เหล็กผ่าน (ตร.ม.)
B  -  ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก  (veber/ตร.ม.)

สูตร   แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีสนามแม่เหล็ก
F = qvB
F  -  แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
v  -  ขนาดความเร็ว
B  -  ขนาดของสนามแม่เหล็ก


3 ความคิดเห็น: