งานวันที่ 24-28มกราคม2554


ตอบ ข้อที่ 1
ที่มา ความเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยน ความเร็ว
ความเร่ง หน่วย เมตรต่อ วินาที2( m/s2)


ตอบข้อที่ 3
ที่มา http://www.assumpboard.com/acboard/index.php?topic=6452.0
อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ / ช่วงเวลาที่ใช้ 
       โดยมีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที หรือ m/s
อัตราเร็วเฉลี่ยที่หาได้ในช่วงเวลาสั้น ๆ จะเป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง (Instantaneous Speed) ซึ่งหมายถึงอัตราเร็ว ณ เวลานั้นหรือตำแหน่งนั้น โดยอัตราเร็วที่ใช้กันทั่วไปในชีวิตประจำวันก็เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง



ตอบข้อที่ 4
ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/kung/vertic_move/vertic_m.htm
 กาลิเลโอ ได้ทำการทดลองให้เห็นว่า วัตถุที่ตกลงสู่พื้นโลกอย่างอิสระ จะเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก ต่อมานิวตันสังเกตุเห็นว่า ทำไมดวงจันทร์ไม่ลอยหลุดออกไปจากโลก ทำไมผลแอปเปิ้ลจึงตกลงสู่พื้นดิน นิวตันได้ทำการศึกษาค้นคว้าต่อ จนในที่สุดก็สามารถพิสูจน์ในเรื่องกฎแห่งการดึงดูดของ สสาร โดยโลกและดวงจันทร์ต่างมีแรงดึงดูดซึ่งกันและ กัน แต่เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก จึงมีแรงหนีสู่ศูนย์กลางซึ่งต่อต้านแรงดึงดูดไว้ ทำให้ดวงจันทร์ลอยโคจรรอบโลกได้ แต่ผลแอปเปิ้ลกับโลกก็มีแรงดึงดูดระหว่างกัน ผลแอปเปิ้ลเมื่อหลุดจากขั้วจึงเคลื่อนที่อิสระตามแรงดึงดูดนั้น



ตอบข้อที่ 2
ที่มา http://www.unigang.com/Article/3898
       v   คือ   อัตราเร็วเชิงเส้น (m/s)
        คือ   อัตราเร็วเชิงมุม (rad/s)
        คือ   มุม (rad)
     ƒ   คือ   ความถี่ (รอบ/วินาที)
     R   คือ   รัศมีวงกลม (m)  
     t   คือ   เวลา (s)
     T   คือ   คาบเวลา (วินาที/รอบ)



ตอบข้อที่ 2
ที่มา http://jomkiri.nsm.go.th/index.php/component/content/article/42-webbase/84-webbase.html
 คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ได้แก่ ดอกไม้ไฟ น้ำพุ การเคลื่อนที่ของลูกบอลที่ถูกเตะขึ้นจากพื้น การเคลื่อนที่ของนักกระโดดไกล



ตอบข้อที่ 4



ตอบข้อที่ 3
ที่มา http://www.nkk.ac.th/sanong/?p=241
เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf{B}\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์  \mathbf{B} \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก


 \mathbf{F} = q \mathbf{v} \times \mathbf{B}
เมื่อ
F คือแรงที่เกิดขึ้น วัดในหน่วยนิวตัน
 \times \ เป็นสัญลักษณ์แสดง cross product ของเวกเตอร์
 q \ คือประจุไฟฟ้า วัดในหน่วยคูลอมบ์
 \mathbf{v} \ คือความเร็วของประจุไฟฟ้า  q \ วัดในหน่วยเมตรต่อวินาที
B คือความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก วัดในหน่วยเทสลา
กฎด้านบนนี้มีชื่อเรียกว่า กฎแรงของลอเรนซ์





ตอบข้อที่ 4
ที่มา http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric1/Electromagnetism.htm
กฏว่ายน้ำของแอมแปร์  กล่าวว่า  ขั้วเหนือของเข็มทิศซึ่งวางอยู่ใกล้เส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้า
                  ไหลผ่าน  จะเบนไปทางมือซ้าย ของคนที่ว่ายน้ำไปในทิศทางที่กระแสไหล  โดยหันหน้าเข้าหาเส้นลวด
                                                  กฏว่ายน้ำของแอมแปร์

                                            ขดลวด (Coil)  หมายถึง  ขดลวดหลายๆขดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน  ทำได้โดยใช้เส้นลวด
                  พันรอบวัตถุที่เป็นแกน  ตัวอย่างเช่น ขดลวดแบนและโซลินอยด์
                                            ขดลวดแบน  (Flat  coil  or  plane coil)  เป็นขดลวดที่มีความยาวน้อยเมื่อเทียบกับเส้น
                  ผ่านศูนย์กลาง
                                            โซลินอยด์ (Solenoid)  เป็นขดลวดที่มีความยาวมากเมื่อเทียบกับเส้นผ่านศูย์กลางสนาม
                  แม่เหล็กที่เกิดจากโซลินอยด์คล้ายกับแท่งแม่เหล็ก  ตำแหน่งของขั้วขึ้นอยู่กับทิศของกระแสไฟฟ้า
                                             แกน (Core)  เป็นวัตถุที่ใช้เป็นแกนของขดลวดเป็นสิ่งบอกความเข้มสนามแม่เหล็ก  สาร
                  แม่เหล็กชั่วคราว 
หรือเหล็กอ่อนทำให้เกิดสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูง  และนิยมใช้ทำแม่เหล็กไฟฟ้า



ตอบข้อที่ 4



ตอบข้อที่ 3
ที่มา http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/102/1/nuclear1/nuclear_9.htm
รังสีแกมมา(Gamma Ray) ใช้สัญลักษณ์ เกิดจากการที่นิวเคลียสที่อยู่ในสถานะกระตุ้นกลับสู่สถานะพื้นฐานโดยการปลดปล่อยรังสีแกมมาออกมา รังสีแกมมา ก็คือโฟตอนของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นเดียวกับรังสีเอ็กซ์ แต่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าและมีอำนาจในการทะลุทะลวงสูงมากกว่ารังสีเอ็กซ์ ไม่มีประจุไฟฟ้าและมวล ไม่เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่ เหล็กและ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าแสง

6 ความคิดเห็น:

  1. เนื้อหาใช้ได้ บางอันไม่มีที่มา

    ให้ 7/10 แล้วกัน

    ตอบลบ
  2. อธิบาย ได้แจ่มแจ้งดี นะ เนื้อหาก็เยอะพอสมควร

    ตอบลบ
  3. แจ่มมีที่มา และ เฉลยด้วย เนื้อหาเยอะ

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ26 มกราคม 2554 เวลา 00:01

    ตรวจงานท้ายชั่วโมง

    ตอบลบ